ผลการสอบทางด้านภาษาของพวกเขาหลังจากการทดสอบระดับชาติ หรือโดยการสอบที่ได้มาตรฐานต่างๆ อันได้แก่ TOEFL และ TOEIC ยังคงอยู่ไกลจากระดับความพึงพอใจ ผลงานจากเด็กที่เรียนภาษาที่ไม่น่าพึงพอใจนี้แสดงให้เห็นว่า ทั้งๆที่มีความพยายาม อุตสาหะ จากทุกๆหน่วยงานได้มีความวิตกกังวลว่า การสอนภาษาอังกฤษในประเทศไทยนั้นประสบกับปัญหาความก้าวหน้าอย่างเชื่องช้า ดังนั้นศึกษานิเทศก์ ผู้บริหาร และนักพัฒนา ต้องให้ความสนใจโดยทันที ภายใต้ความต้องการที่จะปรับปรุง แก้ไข ELT ในประเทศไทย พวกเขาจำเป็นที่จะต้องกระตือรือร้นในการวินิจฉัยถึงกลยุทธ์ในการสอนภาษาอังกฤษในหมู่นักเรียนชาวไทย ภายใต้ความต้องการของผลวิชาภาษาอังกฤษที่มีอยู่ในระดับชาติ เทคโนโลยีเหล่านี้ได้กลายเป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิผลในการติดต่อสื่อสารกับผู้คนรอบโลก เทคโนโลยีนั้นเร็วกว่า ง่ายกว่า และสะดวกกว่าในการใช้สื่อรุ่นเก่าอื่นๆ โดยเฉพาะ บทบาทของคอมพิวเตอร์ในการเรียนการสอนภาษานั้นเพิ่มขึ้นมาในระดับโลกแล้ว สาเหตุเพราะผู้เรียนภาษาส่วนใหญ่จะใช้อินเทอร์เน็ต ในการสื่อสารกับนักเรียนผู้อื่นในเวลาเดียวกัน หรือผู้พูดในภาษาเป้าหมายที่อยู่รอบโลก
ข้อดีและข้อเสียของการใช้CALL
ข้อดีของCALL
- ในการเรียนภาษาได้จัดเตรียมข้อมูลที่น่าเชื่อถือให้กับนักเรียน
- ครูสามารถใช้ CALL เพื่อจัดการเข้าถึงที่ง่ายและรวดเร็วต่อแหล่งข้อมูลในการเรียนภาษาที่หลากหลาย
- สร้างความสนใจ แรงจูงใจ และความมั่นใจของนักเรียน
- เป็นสื่อกลางให้นักเรียนได้แสดงความสามารถที่สร้างสรรค์
- ผู้เรียนสามารถเรียนอย่างกว้างขวางด้วยข้อมูลต่างๆ และส่งเสริมตามที่พวกเขาต้องการ เพื่อให้งานแต่ละคนเกิดความสมบูรณ์ และตอบสนองความต่อความหลากหลายของผู้เรียน
ข้อเสียของCALL
- ค่อนข้างมีราคาสูงของเครื่องคอมพิวเตอร์ และระบบเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพในห้องเรียนมีน้อย
- ใช้เวลาในการลงโปรแกรมเป็นเวลานาน
โครงการบูรณาการ CALL การสอนภาษาอังกฤษในประเทศไทยไม่สามารถพูดได้ว่าโปรแกรมที่คาดหวังในบริบทของการศึกษาระดับชาติ การศึกษาสามัญ โปรแกรม CALL ที่ใช้ในบริบทรวมถึงโปรแกรมการสอนการฝึกฝนและปฏิบัติ สาธิต การจำลอง เกมส์ การทดสอบ และโปรแกรมการสอนที่มีความรับผิดชอบในการเก็บรวบรวมแก่นักเรียน จะนำเสนอข้อมูลในหน่วยเล็กๆ ที่มีประโยค กราฟิก และเสียง นักเรียนสามารถเรียนรู้เนื้อหาผ่านทางคำถามเพื่อให้นักเรียนตอบ พวกเขาได้รับการตอบรับทันที ถ้าคำตอบของพวกเขาไม่ถูกต้อง พวกเขาจะได้รับการแก้ไขให้ถูกต้อง บทเรียนชนิดนี้ดูเหมือนว่าจะเป็นที่นิยมมากสำหรับนักเรียนและครู เพราะว่ามีแบบฝึกหัด
การฝึกทดสอบเป็นการทบทวนเนื้อหาความรู้เดิมของนักเรียนและยังช่วยให้นักเรียนสามารคงไว้ซึ่งทักษะทางภาษาไม่ว่าจะเป็นการอ่าน การฟัง เป็นต้น การกระตุ้นพร้อมให้นักเรียนเกิดการตอบสนองอย่างกระตือรือร้นและการตอบโต้ของนักเรียนถือเป็นขั้นตอนสำคัญของโปรแกรมนี้
การสร้างสถานการณ์สมมุติหรือการแก้ปัญหาได้นำมาใช้เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกทักษะการคิดเชิงวิจารณ์ ทักษะการอภิปราย และทักษะการเขียน โดยการใช้สถานการณ์ในชีวิตจริงเพื่อที่นักเรียนสามารถนำไปใช้ได้จริง นักเรียนจะรู้สึกท้าทายในการแก้ปัญหา ที่ประกอบไปด้วยการสันทนาการกับการเรียนรู้ เกมส์ถูกนำมาใช้เพื่อสร้างบรรยากาศในการเรียนการสอน ปรกติแล้ว เกมส์ที่นำมาใช้ในการเรียนการสอนจะต้องมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน ความหมายของการเลียนแบบและเกมส์ก็คล้ายๆกัน การเลียนแบบก็คือการเลียนแบบจากสถานการณ์จริง แต่เกมส์อาจจะไม่เป็นการเลียนแบบจากสถานการณ์จริง นักเรียนสามารถที่จะเรียนรู้กติกา กระบวนการ รวมทั้งทักษะอื่นๆ
การเรียนโดยอาศัยโปรแกรมCALL
Maneekul (1996) ได้ยกตัวอย่างของความพยายามในการค้นหาผลของการมีสิ่งที่เพิ่มเติมในการสอนแบบปกติ โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เพื่อทำให้การสอนได้ผลดีที่สุด รวมถึงทัศนคติในส่วนของคะแนนผลการสอบของนักเรียนไทยก็ดีไปด้วย การศึกษาแสดงให้เห็นว่าสิ่งที่เพิ่มเติมเข้ามาในการสอนแบบปกติ
Tongtua (2008) พิจารณาเรื่องนี้ด้วยเช่นกับว่า การพัฒนาทักษะความสามารถในการอ่าน ในระเบียบการปรับปรุงการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียนเพื่อความเข้าใจ,ทดสอบความสำเร็จและสอบถามทัศนคติและทดสอบนักเรียนมัธยมปลาย 20 คน ผลลัพธ์ที่ได้ แสดงให้เห็นว่า นักเรียนที่เรียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มีการบรรลุถึงผลสำเร็จเป็นอย่างมาก และมากกว่าผู้ที่เรียนโดยใช้หนังสือเรียนเสริม และยังทำให้นักเรียนมีทัศนคติที่ดีกับการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนในการเรียนภาษาอีกด้วย
Tongpoon (2001) ศึกษาการพัฒนาโปรแกรมสื่อการสอน แกรมม่า เรื่อง phrasal verbsใช้กับนักศึกษาปี 1 เอกภาษาอังกฤษพบว่านักเรียนมีความสามารถดีขึ้นระหว่างการใช้ CALL ในการเรียนภาษาอังกฤษ
อินทัต (2003) ประเมินผล CALL การใช้การสอบ pre – test และ post – test มาเปรียบเทียบกับผลคะแนน post – test สูงกว่า pre – test สรุปว่า CALL นักศึกษามีความสามารถมากขึ้น CALL สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในหลักสูตรการศึกษาของไทยได้
Writing skill อินทัต (2009)ได้พัฒนาการศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเองจากสื่อ CALL เพื่อพัฒนาทักษะการเขียน กับนักศึกษา ป.ตรีของไทย 100 คน ผลที่ได้คือ นักศึกษามีความสามารถเพิ่มขึ้น
Gubtapool (2002) ได้สำรวจกลยุทธ์ของนักศึกษาไทยกับการใช้โปรแกรมการสร้างคำเพื่อช่วยพัฒนาการเขียนได้สำรวจทางการสัมภาษณ์ เอกสารการวิเคราะห์ ผล: โปรแกรมช่วยนักศึกษาพัฒนาการเขียนในหลายเรื่องเช่น capitalization, singular plural forms, subject verb agreement และ punctuation โปรแกรมช่วยตรวจสอบ spelling และ grammar